บทคัดย่อ
COVID-19 เป็นปัญหาใหญ่ของศตวรรษนี้ เป็นวิกฤตที่ทุกประเทศเผชิญเช่นเดียวกันไม่ว่าจะเป็นประเทศร่ำรวย มีระบบสาธารณสุขที่ก้าวหน้า หรือประเทศยากจน ซึ่งแตกต่างจากโรคระบาดอื่น ๆ ที่ผ่านมา ที่มักจะเกิดกับประเทศกำลังพัฒนาหรือประเทศยากจนมากกว่า การรับมือกับการระบาดของโควิดจึงแตกต่างจากการรับมือกับโรคระบาดอื่น ๆ จะเห็นว่ามาตรการที่ประเทศต่าง ๆ ใช้นั้น เป็นการปกป้องคนในชาติก่อน ตั้งแต่นโยบายปิดประเทศ การจำกัดการส่งออกยาและเวชภัณฑ์ของ 83 ประเทศ (นับตั้งแต่เดือนมกราคมถึงเดือนพฤษภาคม) ขณะเดียวกัน Covid-19 ทำให้เห็นระบบกลไกระดับโลกที่ไม่อาจจะรับมือกับวิกฤตครั้งนี้ได้ การรับมือกับ COVID-19 จึงสะท้อนแนวคิดของชาตินิยม มากกว่าการร่วมกันแก้ปัญหา ซึ่งเป็นหลักการของ Global Health การเสวนาวันนี้ จะพูดถึงประเด็นการขาดแคลนยาและเวชภัณฑ์ และมาตรการของประเทศต่าง ๆ เพื่อเข้าถึงยาเช่นการประกาศทำ CL ของหลายประเทศและการจำกัดการส่งออก และจะพูดถึงการขับเคลื่อนเรื่อง Technology Intellectual Property Pool (TIPP) เพื่อให้ยาและเวชภัณฑ์รวมทั้งวัคซีนมีการผลิตได้มากยิ่งขึ้น ลดการผูกขาดโดยบริษัทยาลง
Facebook Link: https://www.facebook.com/IPSRMAHIDOLUNIVERSITY/videos/247506966482107/
วรชัย ทองไทย
ปราโมทย์ ประสาทกุล
ภัทราภรณ์ จึงเลิศศิริ
ภัทราภรณ์ จึงเลิศศิริ
ณปภัช สัจนวกุล
วรเทพ พูลสวัสดิ์
พงษ์ศักดิ์ สกุลทักษิณ,ปัทมา ว่าพัฒนวงศ์
ภัทราภรณ์ จึงเลิศศิริ
โรยทราย วงศ์สุบรรณ
สักกรินทร์ นิยมศิลป์
ชณุมา สัตยดิษฐ์
ปราโมทย์ ประสาทกุล
มนสิการ กาญจนะจิตรา
ปราโมทย์ ประสาทกุล
ปราโมทย์ ประสาทกุล
ดนุสรณ์ โพธารินทร์
เพ็ญพิมล คงมนต์
เฉลิมพล แจ่มจันทร์
กัญญาพัชร สุทธิเกษม
รัศมี ชูทรงเดช
ปราโมทย์ ประสาทกุล
สิรินทร์ยา พูลเกิด
อมรา สุนทรธาดา
มนสิการ กาญจนะจิตรา
จงจิตต์ ฤทธิรงค์
สาสินี เทพสุวรรณ์
วริศรา ไข่ลือนาม
ปราโมทย์ ประสาทกุล
เพ็ญพิมล คงมนต์