ปัจจุบัน ประเทศไทยได้กลายเป็นสังคมสูงอายุอย่างสมบูรณ์แล้ว คือ มีจำนวนผู้สูงอายุประมาณ 13 ล้านคน หรือคิดเป็นร้อยละ 20 ของประชากรทั้งหมด ประเทศไทยกำหนดอายุเกษียณที่ 60 ปี ในขณะที่อายุคาดเฉลี่ยเมื่ออายุ 60 ปี หรือจำนวนปีที่ผู้เกษียณอายุคาดว่าจะมีชีวิตอยู่ต่อไปเป็นระยะเวลาอีก 21 ปีเลยทีเดียว
บทความนี้นำเสนอสวัสดิการด้านการเงินที่รัฐจัดให้แก่ผู้สูงอายุไทยจาก 2 แหล่งหลัก คือ เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ และเบี้ยหวัด ในช่วงปี 2563-2565 ผู้สูงอายุไทยส่วนใหญ่ “ประมาณ 10 ล้านคน” ได้รับเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ ซึ่งมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทั้งจำนวนคนและงบประมาณ “ปีละกว่า 8 หมื่นล้านบาท” (เบี้ยยังชีพเริ่มจ่ายครั้งแรกเมื่อปี 2552 และปัจจุบันกำหนดการจ่ายเงินแบบขั้นบันไดตามช่วงอายุ ตั้งแต่ 600 จนถึง 1,000 บาท)
ส่วนข้าราชการที่เกษียณอายุได้รับเบี้ยหวัด บำเหน็จ บำนาญ ซึ่งพบว่า มีผู้สูงอายุที่ได้รับ “ประมาณ 8 แสนคน” ในช่วง 3 ปีที่ผ่านมา และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทั้งจำนวนคนและงบประมาณเช่นเดียวกัน “ปีละกว่า 2.6 แสนล้านบาทต่อปี”
สวัสดิการด้านการเงินเพื่อผู้สูงอายุไทย ปี 2563 – 2565
ที่มา: กระทรวงการคลัง
ภาพปก freepik.com (premium license)
ศุทธิดา ชวนวัน
กาญจนา เทียนลาย
เฉลิมพล แจ่มจันทร์
ปราโมทย์ ประสาทกุล
นุชราภรณ์ เลี้ยงรื่นรมย์
มนสิการ กาญจนะจิตรา
เพ็ญพิมล คงมนต์
กาญจนา เทียนลาย
ปัทมา ว่าพัฒนวงศ์
สุริยาพร จันทร์เจริญ
นิพนธ์ ดาราวุฒิมาประกรณ์
ปัณณวัฒน์ เถื่อนกลิ่น
สิรินทร์ยา พูลเกิด
ปราโมทย์ ประสาทกุล
วรรณี หุตะแพทย์,ศิรินันท์ กิตติสุขสถิต
นุชราภรณ์ เลี้ยงรื่นรมย์
อมรา สุนทรธาดา
จงจิตต์ ฤทธิรงค์
ปราโมทย์ ประสาทกุล
กาญจนา ตั้งชลทิพย์,อารี จำปากลาย
ภัทราภรณ์ จึงเลิศศิริ
ปัทมา ว่าพัฒนวงศ์
จงจิตต์ ฤทธิรงค์
ณปภัช สัจนวกุล
อมรา สุนทรธาดา
รศรินทร์ เกรย์
มนสิการ กาญจนะจิตรา
ปราโมทย์ ประสาทกุล
ปราโมทย์ ประสาทกุล
มนสิการ กาญจนะจิตรา