คุณศิรดา เขมานิฏฐาไท
นักศึกษาปริญญาเอก SOAS, University of London
เมื่อเมียนมาเข้าสู่ยุคเปลี่ยนผ่านทางการเมืองภายใต้การปกครองของรัฐบาลระบอบผสม (hybrid regime)อย่างรัฐบาลเต็งเส่ง และ รัฐบาลอองซานซูจี กรอบนโยบายของรัฐบาลเมียนมาต่อประเด็นแรงงานย้ายถิ่นระหว่างประเทศมีความเปลี่ยนแปลงไปสู่บรรทัดฐานของประเทศผู้ส่งแรงงาน (migrant-sending state) มากขึ้น และมีกรอบนโยบายที่ชัดเจนกว่าในยุคของระบอบเผด็จการทหาร มีการสมาทานบรรทัดฐานระหว่างประเทศบางประการ โดยเฉพาะการคุ้มครองสิทธิแรงงานข้ามชาติ ทั้งนี้ กรอบนโยบายอยู่บนพื้นฐานของสองปัจจัยหลัก ได้แก่ 1) นโยบายต่างประเทศที่เปิดสู่ชุมชนระหว่างประเทศมากขึ้น ทำให้เกิดความร่วมมือกับองค์กรระหว่างประเทศ 2) ความสัมพันธ์ที่ปราศจากข้อขัดแย้งกับประเทศผู้รับแรงงานหลักที่สำคัญที่สุด คือประเทศไทย อย่างไรก็ดีพัฒนาการของกรอบนโยบายเรื่องแรงงานย้ายถิ่นก็ยังอยู่ในระยะเริ่มต้น และยังคงมีปัญหาในเชิงปฏิบัติ รวมถึงรัฐบาลเมียนมาไม่ได้มีเจตนาที่จะพึ่งพาการพัฒนาทางเศรษฐกิจผ่านการส่งออกแรงงานเป็นหลักแบบประเทศผู้ส่งออกแรงงานบางประเทศแต่อย่างใด สุดท้าย เมื่อประเทศเมียนมาเกิดสถานการณ์รัฐประหารเช่นนี้ จะส่งผลอย่างไรต่อแรงงานย้ายถิ่นระหว่างประเทศ
Facebook Link: https://fb.watch/4yX4M9rjfz/
ฉัตรชัย วัฒนไชยประทีป
ภูเบศร์ สมุทรจักร
นุชราภรณ์ เลี้ยงรื่นรมย์
ณปภัช สัจนวกุล
ศิรดา เขมานิฏฐาไท
กาญจนา เทียนลาย
ปราโมทย์ ประสาทกุล
เฉลิมพล แจ่มจันทร์
สุภรต์ จรัสสิทธิ์
อมรา สุนทรธาดา
ปราโมทย์ ประสาทกุล
รีนา ต๊ะดี
ปราโมทย์ ประสาทกุล
อมรา สุนทรธาดา
จงจิตต์ ฤทธิรงค์
วรชัย ทองไทย
อมรา สุนทรธาดา
อภิชัย อารยะเจริญชัย
ปราโมทย์ ประสาทกุล
ประทีป นัยนา
ภัสสร มิ่งไธสง
อมรา สุนทรธาดา
พิชฌ์นิพัทธ์ วิชัยโน
สักกรินทร์ นิยมศิลป์
บุรเทพ โชคธนานุกูล
ปราโมทย์ ประสาทกุล
สักกรินทร์ นิยมศิลป์
อมรา สุนทรธาดา
จรัมพร โห้ลำยอง
โรยทราย วงศ์สุบรรณ
อมรา สุนทรธาดา
อมรา สุนทรธาดา
อารยา ศรีสาพันธ์
วรชัย ทองไทย
ณัฐนี อมรประดับกุล,ณปภัช สัจนวกุล
วรชัย ทองไทย
ติณณภพจ์ สินสมบูรณ์ทอง
อมรา สุนทรธาดา